Page 13 - ISSUE18_AUGUST
P. 13
W W W . H E A L T H A D D I C T . C O M
FFR จากพฤติกรรมการใช้ชีวิต ไม่ว่าจะกินเค็ม มัน หวาน ท�างานหรือใช้ชีวิตเคร่งเครียด สูบบุหรี่จัด หรือห่างไกล
การออกก�าลังกาย ท�าให้คนไทยป่วยด้วยโรคหัวใจกว่า 432,943 คนต่อปี และที่พบมากที่สุดก็คือ โรคที่
& เกี่ยวกับหลอดเลือดหัวใจ!! ซึ่งความน่ากลัวของโรคนี้ไม่ใช่แค่ภาวะเฉียบพลันที่ท�าให้เหมือนชีวิตแขวนอยู่บน
เส้นด้าย แต่วิธีการรักษาอย่างการขยายหลอดเลือดหัวใจด้วยบอลลูน ก็อาจส่งผลข้างเคียงต่อผู้ป่วยได้
แต่ปัจจุบันมีการพัฒนาเทคนิคใหม่ที่ช่วยให้การท�าบอลลูน...ปลอดภัยต่อผู้ป่วยโรคหัวใจมากยิ่งขึ้น
OCT เพราะการขยายหลอดเลือดหัวใจด้วยบอลลูน...อาจท�าให้เกิดภาวะแทรกซ้อน การตรวจ FFR คือ
• ไตเกิดความเสียหายจากการขับสารทึบรังสีออกจากร่างกาย
การตรวจวัดความ
• มีเลือดออกหรือติดเชื้อบริเวณที่ใส่สายสวน
• เกิดลิ่มเลือดอุดตัน ท�าให้กล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน หรือเส้นเลือดในสมองตีบ ท�าให้เกิดภาวะสมองขาดเลือด
• หัวใจเต้นผิดจังหวะ ดันในหลอดเลือด
หัวใจ ซึ่งสามารถ
FFR (Fractional Flow Reserve) ประเมินขั้นแรก...เพื่อลดการท�าบอลลูนโดยไม่จ�าเป็น
ต้องยอมรับว่าในบางครั้งการฉีดสีหลอดเลือดหัวใจ (CAG) อาจจะยังไม่สามารถบอกได้ชัดเจนถึงการตีบของหลอด เปรียบเทียบความ
เลือดหัวใจว่าตีบบริเวณกว้างเท่าใด และกล้ามเนื้อหัวใจบริเวณนั้นได้เกิดการขาดเลือด (Ischemia) หรือเป็นกล้าม
เนื้อหัวใจที่ตายไปแล้ว (Necrosis) ซึ่งการรักษาของภาวะทั้ง 2 แบบนี้แตกต่างกัน ดันระหว่างหน้าและ
แต่การตรวจ FFR (Fractional Flow Reserve) หรือการตรวจวัดความดันในหลอดเลือด
หัวใจ สามารถเปรียบเทียบความดันระหว่างหน้าและหลังบริเวณที่ตีบ ช่วยให้แพทย์สามารถประเมิน หลังบริเวณที่ตีบ
ได้ว่าคนไข้ควรได้รับการท�าบอลลูนขยายหลอดเลือดหรือไม่
ช่วยให้แพทย์ประเมิน
งานวิจัยยืนยัน! การตรวจ FFR คือทางเลือกที่ดีส�าหรับผู้ป่วย ได้ว่าคนไข้ควรได้รับ
มีงานวิจัยชิ้นหนึ่งที่ตีพิมพ์ในวารสารการแพทย์นิวอิงแลนด์ เป็นงานวิจัยที่น�าผู้ป่วยที่มีความ
จ�าเป็นต้องเข้ารับการท�าบอลลูนจ�านวน 1,005 คน มาแบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม โดยกลุ่มแรกให้ท�า การท�าบอลลูนขยาย
บอลลูนตามหลักเกณฑ์การประเมินเดิม และกลุ่มที่สองให้เข้ารับการตรวจ FFR เพื่อคัดเลือก
เฉพาะผู้ป่วยที่ควรท�าบอลลูนโดยใช้การประเมินนี้เท่านั้น โดยใช้ระยะเวลา หลอดเลือดหรือไม่
ติดตามกว่า 1 ปี พบว่าผู้ป่วยกลุ่มที่ท�า FFR มีอัตราการเกิดกล้ามเนื้อหัวใจ เครื่อง Oct Optical
ตายเฉียบพลันต�่ากว่า และอัตราการปลอดอาการเจ็บหน้าอกก็มากกว่าผู้ป่วย Coherence
ในกลุ่มแรก และที่ส�าคัญ! เมื่อตรวจ FFR แล้ว อัตราผู้ป่วยที่ต้องท�าบอลลูน Tomography
กลับลดลง
แต่หากต้องท�าบอลลูนขยายหลอดเลือด ก็ลดความเสี่ยงได้ด้วย...
เทคนิค OCT
หากเข้ารับการตรวจ FFR แล้วแต่ผลยังคงยืนยันค�าเดิมว่าต้องเข้ารับการท�าบอลลูนขยาย
หลอดเลือด ปัจจุบันในทางการแพทย์ก็ได้มีการน�าเทคนิคใหม่ที่เรียกว่า OCT (Optical
กราฟเปรียบ Coherence Tomography) หรือ การถ่ายภาพภายในหลอดเลือดหัวใจแบบสามมิติ
เทียบความ ซึ่งเป็นวิธีที่ช่วยลดโอกาสการเกิดภาวะแทรกซ้อนลงได้ เพราะแพทย์สามารถประเมินหลอด
ดันภายใน เลือดทั้งก่อนและหลังใส่ขดลวดได้อย่างแม่นย�าขึ้น
หลอดเลือด
หัวใจระหว่าง • ประเมินก่อนใส่ขดลวด เพื่อให้แพทย์ทราบถึงขนาดที่แท้จริงของหลอดเลือดและ
หน้าและหลัง
บริเวณที่ตีบ ความยาวของรอยโรค ท�าให้สามารถเลือกขนาดและความยาวของขดลวดหัวใจได้อย่าง
ถูกต้อง รวมถึงเห็นต�าแหน่งที่เหมาะสมในการวางขดลวดหัวใจ ลดเสี่ยงภาวะแทรกซ้อน
ตามมาได้
• ประเมินหลังใส่ขดลวด เพื่อให้แพทย์ประเมินสภาวะของหลอดเลือดบริเวณขอบ
ภาพถ่าย ของขดลวดหัวใจ ว่ามีการฉีกขาด หรือมีลิ่มเลือดมาเกาะหรือไม่ และประเมินว่าขดลวด
ภายในหลอด มีการแนบกับหลอดเลือดได้อย่างมีประสิทธิภาพ พร้อมทั้งขยายได้ตามขนาดที่ก�าหนด
นวัตกรรมที่ชวยให แบบสามมิติ หรือไม่นั่นเอง
เลือดหัวใจ
และต�าแหน่ง จะเห็นว่าไม่เพียงแค่ความเชี่ยวชาญของแพทย์ แต่ความทันสมัยของเทคโนโลยี
การขยายหลอดเลือดหัวใจ ลวด (Stent) ก็เป็นสิ่งส�าคัญต่อการรักษา ซึ่งศูนย์หัวใจ โรงพยาบาล พญาไท 2 ก็ได้มีการ
การวางขด
เตรียมความพร้อมทั้ง 2 ปัจจัยส�าคัญนี้ เพราะเขามองว่าความปลอดภัยของ
ผู้ป่วยคือเรื่องที่ต้องใส่ใจเสมอ
ปลอดภัยมากขึ้น A D D I C T | 13
CHIAN_HA18Aug_P12-P16.indd 13 7/23/2562 BE 17:34