Page 10 - ISSUE14_APRIL
P. 10
10 EXPERT INTERVIEWS
โรงเรียนวันเสาร์...
อีกหนึ่งแรงผลักดัน
ศักยภาพ &
ความสามารถ
ของเยาวชนไทย
เรามีโอกาสได้ไปนั่งพูดคุยกับ ยีราฟ – สรวิศ ไพบูลย์รัตนากร พัฒนาตัวเองในแบบที่ชอบ...คือการเรียนที่มีความสุข
ยีราฟมองว่าการที่เด็กได้พัฒนาตัวเองในแบบที่เขาต้องการ และสนุกกับการ
ผู้ก่อตั้งมูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ หรือ Saturday School เรียนรู้คือการดึงศักยภาพของเด็กออกมาได้ดีที่สุด เด็กแต่ละคนมีธรรมชาติ
พูดได้เลยว่าเขาคือคนที่มุ่งมั่นและตั้งใจอย่างมากในการครีเอท ที่ไม่เหมือนกันและต้องการการเรียนรู้เพื่อไปถึงความฝันที่แตกต่างกัน “ผม
โชคดีที่ได้เรียนมัธยมที่โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ ที่นั่นมีวิชาที่เราได้เลือก
โปรแกรมนี้ขึ้นมา เพื่อซัพพอร์ตความฝันและดึงศักยภาพ รวมถึง เรียนเองเยอะมาก เราเลือกเรียนเกี่ยวกับเขียนโปรแกรมถึง 5 ตัว ซึ่งเป็น
ความสามารถที่หลากหลายของเด็กๆ ให้ชัดเจนเป็นรูปเป็นร่าง เรื่องที่ดีมาก แต่ถ้าอยู่โรงเรียนข้างนอกมันแทบไม่มีทางเลย เป็นวิชาเลือกก็
จริง แต่ถูกโรงเรียนบังคับเลือก ซึ่งมันไม่ช่วยในการพัฒนาศักยภาพเราเลย
ถ้าเราอยากเป็นนักเขียน แต่ไม่มีอะไรในโรงเรียนที่จะมาช่วยพัฒนาเราใน
จุดเริ่มต้นจากโรงเรียนธรรมดา...สู่โครงการ “โรงเรียนวันเสาร์” ตรงนั้น เด็กบางคนก็อาจจะเบื่อ ไม่อยากเรียน โดดเรียน ศักยภาพของพวก
ปริญญาวิศวกรรมศาสตรบัณฑิตจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นคุณสมบัติ เขาก็จะไม่ไปถึงไหน ศักยภาพมันจะเกิดขึ้นเมื่อเราพยายามเพราะเห็นว่ามี
ที่ดีพอที่จะท�าให้ยีราฟกลายเป็นพนักงานของบริษัทคอมพิวเตอร์ชั้นน�าของ ช่องทางที่เราอยากท�าและจะพัฒนาตัวเองขึ้นไปได้”
ประเทศไทยได้ แต่ด้วยความมุ่งมั่นและความเชื่อที่ว่าการให้ความรู้การศึกษา
จะเป็นประตูไปสู่การแก้ปัญหาให้กับประเทศในระยะยาวได้ เขาจึงตัดสินใจมา โรงเรียนวันเสาร์กับคาบเรียนสร้างสรรค์
เป็นครูสอนคณิตศาสตร์ให้กับมูลนิธิ Teach For Thailand ซึ่งที่นี่ได้กลาย “ที่นี่เราสอนวิชาที่ไม่มีอยู่ในโรงเรียนให้เด็ก เช่น พูดถึงอาชีพที่เด็กสนใจ
เป็นจุดเริ่มต้นของโครงการโรงเรียนวันเสาร์ “พอได้เข้าไปสอนเด็กจริงๆ ผม สร้างแรงบันดาลใจ สอนการพูดภาษาอังกฤษให้เด็กได้กล้าพูดกล้าแสดงออก
รู้สึกว่ามันมีข้อจ�ากัดหลายๆ อย่างในเวลาที่สอน ที่ท�าให้เด็กเติบโตได้ไม่ค่อย สอนดนตรี กีฬา ศิลปะ มีวิชาที่ให้เด็กลองตั้งเป้าหมายของตัวเอง แล้วเรา
เต็มที่ ทั้งข้อจ�ากัดทางด้านวิชา เวลา สภาพแวดล้อม ทั้งที่เด็กๆ มีความ มาช่วยกันว่าจะท�าให้เขาไปถึงเป้าหมายเหล่านั้นยังไง แล้วพอโรงเรียนขยาย
สามารถหลายด้าน เราก็เลยแค่ต้องการพื้นที่ที่พวกเขาจะเติบโตและมีเวลาใน ตัวขึ้น มีคนเข้ามาช่วยมากขึ้น มันก็เกิดวิชาการเรียนการสอนใหม่ๆ ที่อาสา
i การเรียนรู้มากขึ้น “โรงเรียนวันเสาร์” เลยเริ่มขึ้นมาด้วยความคิดที่ว่าเราสอน สมัครเข้ามาช่วยกันคิด เช่น วิชาท�าหนังสั้น วิชาท�าบอร์ดเกม หรือแม้แต่วิชา
เองคนเดียวอาจจะไม่ท�าให้เด็กโตไปได้ดีเท่าที่ควร ท�าสติกเกอร์ไลน์ที่เด็กได้ทดลองท�าแล้วหารายได้พิเศษให้ตัวเองได้ด้วย”
เพราะเขามีความสนใจที่หลากหลาย ก็เลยชักชวน
เพื่อนมาช่วยสอน ช่วยให้ความรู้กับเด็กๆ” การวัดผลที่ไม่ได้แข่งกันด้วยคะแนน
จากวันแรกจนถึงวันนี้แม้จะเป็นระยะเวลาเพียงแค่ 4 ปี แต่โรงเรียนวันเสาร์
ก็ได้ท�าหน้าที่ในการส่งเสริมทักษะและเติมเต็มความมั่นใจให้แก่เด็กๆ
มากมายหลายคน จนทุกวันนี้โรงเรียนวันเสาร์ขยายออกไปอยู่ใน 9 โรงเรียน
จากหลากหลายเขตในกรุงเทพฯ ยีราฟเล่าว่า “เด็กในโครงการอาจจะไม่ใช่
สรวิศ เด็กที่มีโอกาสมากนัก หลายคนมาจากครอบครัวที่รายได้น้อย แต่ได้มา
ไพบูลย์รัตนากร พัฒนาตัวเองและวางเป้าหมายที่เขาอยากเป็นต่อไป โรงเรียนวันเสาร์เรา
(ยีราฟ) วัดผลโดยการบอกว่าเราอยากให้เด็กมีแรงบันดาลใจ มีความพยายาม มี
อายุ 29 ปี ความเชื่อว่าตัวเองจะท�าได้ กล้าที่จะฝัน ในแต่ละวิชาเราก็จะวัดผลเขาใน
ผู้ก่อตั้งมูลนิธิ ลักษณะที่เหมาะสม เช่น วิชาภาษาอังกฤษ เราจะเน้นการสอนพูด และ
โรงเรียนวันเสาร์ หรือ ทดสอบโดยการพาชาวต่างชาติมาคุยกับเด็ก ถ้าเด็กกล้าที่จะสื่อสารกับชาว
Saturday School ต่างชาติ พูดได้ มันแปลว่าเขาเริ่มเปลี่ยนแปลงตัวเองแล้ว ส่วนเรื่องราย
สอนให้เด็กรู้จักการท�างานเป็นทีม ละเอียดครูในแต่ละวิชาก็จะมีหน้าที่ในการสนับสนุนให้มันดีขึ้นต่อไป”
A P R I L 2 0 1 9 | I S S U E 1 4
CHIAN_HA14Apr_P8-P11.indd 10 3/29/2562 BE 09:35