Page 13 - ISSUE27_SEPTEMBER
P. 13
W W W . H E A L T H A D D I C T . C O M
ถ้าพูดถึงการไปหาหมอฟัน หลายคนอาจจะรู้สึกเกร็งขึ้นมาทันที เพราะกลัวเจ็บบ้าง กลัวเครื่อง
มือต่างๆบ้าง หรือบางเคสกว่าจะรักษากันจบก็ใช้เวลานานเป็นเดือนๆ ล่าสุดเรามีโอกาสได้
พูดคุยกับ ทพ. ธนพล หนูมาน้อย ทบ.,ทบ.ม. (ทันตกรรมประดิษฐ์) ประธาน Cluster ทันตกรรม
หัวหน้าทันตแพทย์ โรงพยาบาลเปาโลพหลโยธิน ซึ่งคุณหมอได้พูดถึงความก้าวไกลของ
เทคโนโลยีด้านทันตกรรมในปัจจุบันอย่าง “การท�าฟันแบบดิจิตอล” ที่ช่วยให้การรักษาฟันมี
ประสิทธิภาพมากขึ้น ใช้เวลาน้อยลง
Intraoral Scanner จุดเริ่มต้นของประสิทธิภาพในการรักษาที่ดีกว่า
ใครที่เคยผ่านการพิมพ์ฟันมา จะเข้าใจดีว่ามันต้องใช้เวลาค่อนข้างนาน ที่จะต้องอดทนกับการกัด
อุปกรณ์พิมพ์ฟันให้อยู่นิ่งเกือบ 10 นาที เพื่อรอให้ตัวพิมพ์ฟันเซตตัวจนเห็นรูปฟันที่ชัดเจน แต่
ตอนนี้ได้มีเทคโนโลยีใหม่ ที่เรียกว่า “Intraoral Scanner” ซึ่งจะเป็นอีกหนึ่งตัวเลือกที่ดีของ
คนไข้ ที่จะช่วยคืนความมั่นใจให้กลับมายิ้มกว้างได้อีกครั้ง “ปกติคนไข้จะไม่ค่อยชอบขั้นตอนของ
การพิมพ์ฟัน เพราะต้องกัดอุปกรณ์พิมพ์ฟันนานๆ อีกทั้งตัววัสดุที่ใช้พิมพ์ฟันก็มักจะชอบไหลลงคอ
ท�าให้คนไข้บางคนเกิดการส�าลักหรืออาเจียน แต่ Intraoral Scanner จะถูกน�ามาใช้แทนการ
พิมพ์ฟันแบบเดิม ที่คนไข้ไม่ต้องกัดอุปกรณ์พิมพ์ฟันแล้ว เพียงแค่ใช้อุปกรณ์สแกนเข้าไปที่ฟัน และ
ที่ส�าคัญคือใช้เวลาเพียงแค่ 2 นาทีเท่านั้น ก็เสร็จขั้นตอนการพิมพ์ฟันแล้ว”
เพื่อความแม่นย�า & ตรงจุด ที่มากกว่าเดิม
การพิมพ์ฟันแบบดิจิตอลคือการแก้ไขปัญหาการเกิดข้อผิดพลาดได้ตรงจุดที่สุด “การพิมพ์ฟันแบบ
เก่า ข้อเสียคือ มันเกิดข้อผิดพลาดได้ง่าย ต้องผ่านหลายขั้นตอนกว่าจะออกมาเป็นตัวฟันเพราะตัว
พิมพ์ฟันแบบเดิมมันสามารถหดขยายได้ ระหว่างขั้นตอนการท�าตัวฟันถ้าเกิดมีการหดหรือขยายมัน
ก็จะท�าให้ตัวฟันที่ได้ไม่ตรงกับขนาดฟันจริงของคนไข้ บางทีพิมพ์ออกมาแล้วมันไม่ชัด มีเลือดออก
ก็ต้องพิมพ์ใหม่ แต่พอมีเครื่อง Intraoral Scanner ก็ท�าให้คนไข้แฮปปี้ขึ้น หมอเองก็แฮปปี้ เพราะ
เครื่อง Tntraoral Scanner
ชิ้นงานที่ได้ออกมาจากตัวเครื่องดิจิตอล มันแม่นย�าและชัดเจนกว่าแบบก่อนๆ ช่วยลดการเกิดข้อผิด
พลาด เพราะตัวโปรแกรมจะช่วยค�านวณมาให้หมดแล้ว”
เซฟเวลาทั้งคนไข้และคุณหมอ
อย่างที่เรารู้กันดีว่าการพิมพ์ฟันแบบเดิม จะต้องใช้เวลา 1-2 สัปดาห์ กว่า
จะออกมาเป็นชิ้นงานที่พร้อมใส่ให้คนไข้ “การพิมพ์ฟันแบบเดิมมันต้องผ่าน
หลายขั้นตอนกว่าจะออกมาเป็นชิ้นงาน พอพิมพ์เสร็จก็ต้องส่งไปให้ช่างหรือ
ผู้เชี่ยวชาญเทปูนลงไปในพิมพ์ หลังจากนั้นก็จะเหวี่ยงชิ้นงานออกจากตัว
แว็กซ์ แต่ถ้าท�าด้วยระบบ Intraoral Scanner จะท�าให้คนไข้ประหยัด
เวลาลงได้เยอะ ไม่ต้องรอนาน ได้งานที่มีคุณภาพที่คุณหมอเป็นคนควบคุม
“ มันเป็นมากกว่า Technology แต่มัน เองทุกขั้นตอน ท�าให้ได้ขนาดและรูปแบบฟันที่เหมาะสมกับคนไข้ในเวลา
เพียง 1 วัน ส่วนคุณหมอเองก็ประหยัดเวลา ไม่ต้องกลับมาแก้งานให้คนไข้
หลายรอบ
คือ Touchnology เทคโนโลยีที่นอกจาก
One Day Implant วันเดียวจบ ครบทุกขั้นตอน
ท�าให้สะดวกแล้ว ยังท�าให้คุณภาพชีวิต ถ้าเราสามารถพิมพ์ฟันเสร็จได้ภายในวันเดียว การท�ารากฟันเทียมภายใน
1 วันก็เป็นเรื่องที่ท�าได้เหมือนกัน “ปกติแล้วเวลาคนไข้มาท�ารากฟันเทียม
ของคนไข้ดีขึ้นด้วย หมอก็ท�างานได้ง่าย เราไม่สามารถท�าให้เสร็จได้ภายในวันเดียว ต้องถอนฟันแล้วรอจนกว่าแผล
จะหายดี แล้วถึงจะเริ่มขั้นตอนการใส่รากฟันเทียม ท�าให้คนไข้ต้องรอนาน
สะดวกรวดเร็วขึ้น เคี้ยวอาหารล�าบากและสูญเสียความมั่นใจ แต่ถ้าเป็นแบบ One Day
“
Implant หมอจะใส่รากฟันเทียมทันทีหลังจากถอนฟันเสร็จ ท�าให้คนไข้
สามารถใช้งานฟันได้อย่างต่อเนื่อง และคนไข้ไม่ต้องทนเจ็บหลายรอบ”
i
แม่นย�ามากขึ้นด้วย CT Scan ตอบโจทย์ยุค New Normal
นอกจากเครื่อง Intraoral Scanner เทคโนโลยีที่ทันสมัยแล้ว ที่นี่ยัง และด้วยสถานการณ์ปัจจุบัน ต้องยอมรับว่าความรวดเร็วและความ
มีเครื่อง CT Scan ที่ถูกออกแบบมาส�าหรับทันตกรรมโดยเฉพาะอีก ปลอดภัยที่ไม่ต้องเสี่ยงสัมผัสเชื้อโรคบ่อยๆ ดูจะทางเป็นเลือกที่น่า
ด้วย มันจะช่วยให้คุณหมอสามารถดูฟันเราได้แบบ 360 องศา เห็น สนใจอย่างมาก อย่างเช่นในขั้นตอนพิมพ์ฟันแบบเก่า หลังพิมพ์ฟันเสร็จ
ทุกส่วนของฟันได้ละเอียดมากยิ่งขึ้น “ในเคสรากฟันเทียมหรือการ จะมีน�้าลายติดที่รอยพิมพ์ค่อนข้างเยอะ ซึ่งถ้าหากการฆ่าเชื้อท�าได้ไม่
ผ่าตัดขากรรไกร เราจะใช้การสแกนฟันแบบ Intraoral Scanner ดี ก็อาจเป็นการเพิ่มความเสี่ยงให้กับผู้ที่สัมผัสได้
และ CT Scan ร่วมด้วย ตัว CT Scan จะเห็นได้ชัดเจนกว่าการ
เอกซเรย์แบบปกติ เราสามารถเห็นฟันได้ทั้งหมดว่าข้างใต้ฟันมีจุดไหน
บ้างที่ต้องระวังท�าให้คนไข้ไม่ต้องผ่าตัดเปิดเหงือก เพื่อดูว่าต้องฝังราก ทพ. ธนพล หนูมาน้อย
เทียมลึกแค่ไหนซึ่ง CT Scan ตัวนี้จะแตกต่างจากเครื่อง CT Scan ทบ.,ทบ.ม. (ทันตกรรมประดิษฐ์) A D D I C T | 13
ปกติ เพราะมีความละเอียดและตัวรังสีที่ใช้จะแตกต่างกัน” ประธาน Cluster ทันตกรรม
หัวหน้าทันตแพทย์
โรงพยาบาลเปาโลพหลโยธิน