Page 13 - ISSUE23_JANUARY
P. 13
W W W . H E A L T H A D D I C T . C O M
สมองก็เสื่อมได้...เหมือนอวัยวะอื่น
เรารู้กันอยู่แล้วว่าพออายุมากขึ้น อวัยวะต่างๆ ก็ค่อยๆ เสื่อมลง “สมอง” เองก็เหมือนกัน
นอกจากความเสื่อมในเรื่องของการแก่ลง การผลิตใหม่ของเซลล์สมองน้อยลงแล้ว แกนกลาง
ของสมองที่เป็นส่วนสร้างสารสื่อประสาทที่ท�าหน้าที่ควบคุมการเคลื่อนไหวของร่างกายก็
เสื่อมลงด้วย ซึ่งเมื่อสารสื่อประสาทในสมองเสียสมดุล ก็จะท�าให้เกิดอาการสั่น เกร็ง และ
กล้ามเนื้อกระตุก นั่นแหละคืออาการโรคสมองเสื่อม พาร์กินสัน (Parkinson’s Disease)
ซึ่งมักเกิดกับผู้สูงวัย โรคนี้มักจะพบในผู้ชายมากกว่าผู้หญิง และยังพบว่าคนที่ใช้ยาจิตเวช
บางประเภท หรือคนที่เคยได้รับแรงกระแทกที่ศีรษะหนักๆ บ่อยๆ ก็เสี่ยงโรคนี้มากขึ้น
พาร์กินสัน... ไม่ใช่แค่สั่นหรือกระตุก
หลายคนคิดว่าผู้ป่วยพาร์กินสัน จะมีอาการกล้ามเนื้อสั่น กระตุก ก้าวเดินผิดปกติหรือก้าว
เท้าสั้นๆ และการทรงตัวที่ไม่ดี แต่ความจริงแล้วโรคพาร์กินสันยังมีอาการอื่นๆ ร่วมด้วย
อย่างการนอนละเมอ ฝันร้ายบ่อยๆ ท้องผูกเรื้อรัง มีภาวะซึมเศร้า พูดได้ช้าลงและเสียงเบา
ลง และในผู้ป่วยที่มีอาการรุนแรงมาก จะมีปัญหาการกลืนล�าบาก ท�าให้ส�าลักบ่อย อาการ
หลายอย่างที่ท�าให้เคลื่อนไหวร่างกายได้ไม่ปกติ ท�าให้เสี่ยงอุบัติเหตุ หกล้ม จนถึงขาดความ
มั่นใจในการใช้ชีวิตร่วมกับผู้อื่นที่อาจสะสมเป็นภาวะซึมเศร้าหรือกลายเป็นคนเก็บตัว
การรักษาผู้ป่วยพาร์กินสัน...
หากผู้ป่วยมีอาการรุนแรง ก็จ�าเป็นต้องได้รับการดูแลอย่างใกล้ชิดจากคนในครอบครัวควบคู่
กับการรักษาทางการแพทย์ โดยแพทย์จะเริ่มจากการซักประวัติ ตรวจอาการ ตรวจร่างกาย คนไข้จะถูกปลุกให้ฟื้นเพื่อให้
รู้สึกตัวในระหว่างขั้นตอนการ
ทางระบบประสาท และท�าการเอกซเรย์สมองด้วยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (MRI Brain) เพื่อ ฝังเครื่อง เพื่อให้แพทย์ทดสอบ
วินิจฉัยให้ตรงโรค เพราะยังมีโรคอื่นๆ ที่มีอาการคล้ายพาร์กินสัน และถึงแม้ว่าในปัจจุบัน ว่าหากปล่อยกระแสไฟฟ้า
อาจจะยังไม่มีวิธีการรักษาให้หายขาดได้ แต่ในทางการแพทย์ก็ยังสามารถรักษาผู้ป่วยพาร์ กระตุ้นแล้วอาการของผู้ป่วยดี
กินสันตามอาการของโรคเพื่อให้ผู้ป่วยมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นได้ ด้วยการใช้ยาและการท�า ขึ้นจริงหรือไม่
กายภาพบ�าบัด
“เมื่อแพทย์พบว่าการใช้ยาเป็นระยะเวลานานนั้นส่งผลกระทบกับคนไข้ และคนไข้มักจะ
มีอาการดื้อยา แพทย์ก็จะแนะน�าวิธีการรักษาแบบใหม่ คือการผ่าตัดฝังเครื่องกระตุ้นไฟฟ้า
ในสมองส่วนลึก (Deep Brain Stimulation, DBS) ให้กับคนไข้”
เครื่องกระตุ้นไฟฟ้าใน
i DO YOU KNOW การฝังเครื่องกระตุ้นไฟฟ้าสมองส่วนลึก (DBS) สมองส่วนลึก (Deep
นพ.สิทธิ เพชรรัชตะชาติ แพทย์ช�านาญการด้านประสาทวิทยา โรคพาร์กินสันและกลุ่มโรคความ Brain Stimulation, DBS)
เคลื่อนไหวผิดปกติ รพ.พญาไท 1 บอกกับเราว่า “เมื่อแพทย์พบว่าการใช้ยาเป็นระยะเวลานาน
ในประเทศไทยมีผู้ป่วยพาร์กินสัน นั้นส่งผลกระทบกับคนไข้ และคนไข้มักจะมีอาการดื้อยา แพทย์ก็จะแนะน�าวิธีการรักษาแบบ
อยู่ที่ 1 ต่อ 1,000 คน ใหม่ คือการผ่าตัดฝังเครื่องกระตุ้นไฟฟ้าในสมองส่วนลึก (Deep Brain Stimulation, DBS)
มากเป็น อันดับ 2 ให้กับคนไข้”
รองจากโรคอัลไซเมอร์ ซึ่งในการผ่าตัดฝังเครื่องกระตุ้นไฟฟ้าในสมองส่วนลึกนั้น แพทย์จะท�าการเจาะรูเล็กๆ ที่บริเวณ
กะโหลกศีรษะ 2 รู เพื่อใส่สายไฟไว้ในสมอง โดยมีสายเชื่อมต่อผ่านใต้หนังศีรษะผ่านลงมาที่
บริเวณล�าคอและหน้าอก เชื่อมเข้ากับตัวเครื่องอิเล็กทรอนิกส์ที่ฝังไว้บริเวณหน้าอก ซึ่งท�าหน้าที่
ปล่อยกระแสไฟฟ้าออกไปกระตุ้นสมอง และในขณะผ่าตัดเจาะรูกะโหลกนั้น แพทย์จะให้ยาที่
ท�าให้ผู้ป่วยหลับในช่วงแรก ต่อมาผู้ป่วยจะถูกปลุกให้ฟื้นเพื่อให้รู้สึกตัวในระหว่างขั้นตอนการ
ฝังเครื่อง เพื่อให้แพทย์ทดสอบว่าหากปล่อยกระแสไฟฟ้ากระตุ้นแล้วอาการของผู้ป่วยดีขึ้นจริง
หรือไม่ ก่อนที่จะท�าการเย็บปิดแผล โดยข้อดีของการผ่าตัดแบบนี้คือแพทย์สามารถปรับตั้ง
เครื่องหลังผ่าตัดได้ เพื่อให้สอดคล้องกับอาการของผู้ป่วย i
มูฮัมหมัด อาลี (Mu- ผู้ป่วยพาร์กินสันอยู่อย่างมีความสุข...เมื่อได้รับการดูแล
hammad Ali) (1942- ก่อนอื่น...ผู้ดูแลหรือญาติต้องท�าความเข้าใจเกี่ยวกับลักษณะอาการของผู้ป่วย เพราะถึงแม้ว่า
2016) อดีตนักมวยรุ่น คนไข้จะได้รับการรักษาแล้ว แต่ก็อาจมีอาการต่างๆ อยู่ เช่น กลืนล�าบาก จึงต้องระวังเรื่องการ
เฮฟวี่เวทชาวอเมริกัน กินยาและการเคี้ยวอาหาร ควรจัดสภาพแวดล้อม ข้าวของเครื่องใช้ภายในบ้านให้เหมาะกับผู้
ป่วยเป็นโรคพาร์กินสัน ป่วย เช่น เตรียมรองเท้าที่ไม่ลื่น เลือกใช้อุปกรณ์การกินที่ตกไม่แตก มีหูจับถนัดมือ ท�าราวจับ
หรือโรคเมาหมัด ในห้องน�้าและบริเวณที่ผู้ป่วยใช้เป็นประจ�า หลีกเลี่ยงการขึ้นลงบันได จัดบ้านให้โปร่งโล่งและ นายแพทย์ สิทธิ
ซึ่งสันนิษฐานได้ มีแสงสว่างเพียงพอ เพชรรัชตะชาติ
ว่าเป็นผลมาจาก แพทย์ช�านาญการ
การได้รับการ ในทางการแพทย์ มีการสันนิษฐานถึงความเสื่อมของเซลล์สมองส่วนนี้ว่ามีความเกี่ยวข้องกับ ด้านประสาทวิทยา,
กระทบกระเทือน ปัจจัยเสี่ยงต่างๆ ซึ่งหลีกเลี่ยงได้โดยการออกก�าลังกาย พักผ่อนนอนหลับให้เพียงพอ ไม่เครียด โรคพาร์กินสันและกลุ่มโรค A D D I C T | 13
ที่ศีรษะจากการ จนเกินไปและการอยู่ในสิ่งแวดล้อมที่ดีไม่มีมลพิษ ที่ส�าคัญอีกอย่างคือ... การหมั่นสังเกตตนเอง ความเคลื่อนไหวผิดปกติ
ชกมวย และสมาชิกในครอบครัว เพื่อเฝ้าระวังโรคพาร์กินสัน เพราะการตรวจวินิจฉัยพบตั้งแต่เริ่มมี ศูนย์สมองและระบบประสาท
อาการใหม่ๆ จะช่วยให้การรักษาได้ผลดีกว่ารักษาเมื่ออาการลุกลามไปมากแล้ว โรงพยาบาลพญาไท 1
fab_HA23Jan_P12-P16_dp3.indd 13 12/24/2562 BE 19:11